ระบบตัวเลขโรมัน
ตัวเลขโรมันหลักนั้นที่มีอยู่มีทั้งหมด 7 ตัวดังตาราง
ตัวเลขโรมัน
|
I
|
V
|
X
|
L
|
C
|
D
|
M
|
ตัวเลขอารบิก
|
1
|
5
|
10
|
50
|
100
|
500
|
1,000
|
ตัวเลขอารบิก(มีขีดบน)
|
1,000
|
5,000
|
10,000
|
50,000
|
100,000
|
500,000
|
1,000,000
|
โดยค่าของตัวเลขอารบิกข้างล่างนั้น จะเพิ่มขึ้นมาเป็นค่านั้นก็ต่อเมื่อเลขโรมันมีการขีดบน
การหาค่าของตัวเลขโรมัน
1. ตัวเลขโรมันที่เรียงจากมากไปหาน้อย ให้นำมาบวกกัน จะได้ค่านั้นๆ เช่น
- MMCL = 1000+1000+100+50 = 2150
- DCII = 500+100+1+1 = 602
- VIII = 5+1+1+1 = 8
- XL = 50-10 = 40
- IX = 10-1 = 9
- CM = 1000-100 = 900
แบบฝึกหัดที่ 1.1. จงหาเขียนเลขโรมันจากเลขอารบิกดังต่อไปนี้
- 200
- 145
- 9
- 19
- 28
- 73
- 521
- 1256
- 930
- 2900
- 14250
- 200000
- 125600
- 700000
- 1253000
- 425000
- 120080
- 100001
- 75426
- 952362
แบบฝึกหัดที่ 1.2. จงหาค่าตัวเลขโรมันต่อไปนี้
- IX
- XXII
- XV
- LXV
- MMLV
- MMMXXXIIII
- LC
- CD
- DCCIII
- CV
- MXXX
- MII
- MIX
- MDC
- XM (มีขีดอยู่ข้างบนของตัวแรก)
- MLCCC (มีขีดอยู่ข้างบนของตัวแรก)
- VII (มีขีดอยู่ข้างบนของตัวแรก)
- VMM (มีขีดอยู่ข้างบนของทุกตัว)
- CDII (มีขีดอยู่ข้างบนของตัว1และ2)
- CDIV (มีขีดอยู่ข้างบนของตัว1และ2)
ตั้งใจทำแบบฝึกหัดด้วยนะ...
แหล่งที่มา
http://non9279.wordpress.com/mathematics-tricky/lesson-1-roman-number
วันที่14กันยายน 2556
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น